ต้นตะขบ จัดเป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีความสูงได้ประมาณ 5-7 เมตร และอาจสูงได้ถึง 10 เมตร แตกกิ่งก้านแผ่ขนานกับพื้นดิน
เปลือกลำต้นเรียบเป็นสีเทา ตามกิ่งอ่อนมีขนนุ่มขึ้นปกคลุม ตะขับหรือตะขบฝรั่งนี้มีถิ่นกำเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ พบปลูกเป็นไม้ประดับหรือไม้ผลทั่วไปในเขตร้อน
ในประเทศพบปลูกเป็นไม้ประดับหรือไม้ผล และมักพบขึ้นเป็นวัชพืชตามที่รกร้างว่างเปล่าตามป่าโปร่งทั่วไป หรือมักขึ้นเองตามธรรมชาติที่นกและสัตว์ขนาดเล็กถ่ายมูลเมล็ดตะขบทิ้งไว้ สามารถขยายพันธุ์ได้เองโดยวิธี ก า ร เพาะเมล็ด ออกดอกและติดผลได้ตลอดทั้งปี
ต้นตะขบ ที่หลายคนคุ้นเคยในวั ย เ ด็ ก เพราะมั กเป็ นที่นัดรวมกลุ่มของเ ด็ กๆ ที่มักชักชวนมาเล่นกันใต้ต้นไม้ พากันปีนต้นไม้และเก็บผลบนต้นทาน
ทำให้หลายต่อหลายคน มีต้นตะขบอยู่ในความทรงจำส มั ย เ ด็ กเสมอ โดยเฉพาะตามบ้านนอก ต้นตะขบเป็นต้นไม้ที่ให้ร่มเง าดี และยังมี ป ร ะ โ ย ช น์ ต่างๆมากมายตั้งแต่ผล ด อก รว มไปถึงร า กไม้เลยทีเดียว
ด อ กของต้นตะขบใช้เป็นส มุ น ไพร นำไปต้มรวมกับ สมุ น ไพรอื่น ใช้เป็นย า ขั บ ร ะดู ใ น ส ต รี ใช้เป็นย าแก้โ ร ค ตั บ อั ก เ ส บ และมี ป ร ะ โ ย ช น์ ใน ก า ร บรรเ ท าอา กา ร ป ว ดและแก้อั ก เ ส บอีกด้วย
ด อ กของตะขบ สามารถทำไปอบแห้งและทำเป็นน้ำช าชงดื่มได้ สามารถแก้หวัดล ด ไข้ โดยเราสามารถใช้ด อ กแห้งประมาณ 3-5 กรัม
ชงเป็นช า ด อ กไม้เพื่อดื่มรับสร รพ คุ ณทางย าได้อ ย่ า ง ดี ช่วยรั ก ษ าอ า ก า รป ว ดเ กร็งในทางเดิน อ า ห า ร ได้ด้วย
ในส่วนของเนื้อไม้นั้น ตะขบมีฤ ทธิ์เป็น ย า ร ะ บ า ย
โดยเราสามารถนำเปลือกต้นสดหรือแห้ง กะขนาดประมาณฝ่ ามือ นำไปสั บเป็นชิ้นๆแล้วตต้มในน้ำเดือดประมาณ 15 นาที กรองจนเหลือแต่น้ำแล้วนำมาใช้ดื่มเป็น ย า ระ บ ายได้อ ย่ า ง ดี
ไม้ตะขบเป็นไม้เ นื้ ออ่อน สามารถนำไปใช้กับ ง า น ของช่ างไม้ได้ เป็นต้นไม้ที่ให้ร่มเงาดีและมักปลูกกันมากในบริเวณเขตร้อ น
ป ร ะ โ ย ช น์ ของตะขบ
ผลสุกมีรสหวานและมีกลิ่นหอม ใช้รับประทานได้ เป็นผลไม้พื้นบ้านที่ชื่นชอบของเด็ก ๆ,
ตะขบเป็นผลไม้ที่อุดมไปด้วยพลัง ง า น เส้นใย อ า ห า ร แคลเซียม โ พ แ ท ส เ ซี ย ม
และ โ ซ เ ดี ย ม จาก ก า ร วิ จั ย พบว่าตะขบสามารถช่วยดูดซับคอเลสเตอรอล
ลดความเสี่ยง ม ะ เ ร็ ง ลำไส้ และเส้นเลือดในสมองแตกได้ (ตะขบ 100 กรัม จะให้พลัง ง า น 97 กิโลแคลอรี, แคลเซียม 51.7 มิลลิกรัม, โ พ แ ท ส เ ซี ย ม 773 มิลลิกรัม, โ ซ เ ดี ย ม 12.8 มิลลิกรัม) (นพ.สมยศ ดีรัศมี)
ที่มา krustory
เรียบเรียงโดย คนบ้านนอก