ทุกวันนี้กระแสไม้ด่าง กำลังฮอตฮิตติดลมบน จากสนนราคาหลักร้อย จะพุ่งไปถึงหลักพันยันหลักแสน อย่างที่เป็นข่าวเมื่อไม่นานมานี้ ไม้ประดับอย่างมอนสเตอร่าด่าง ขายกันต้นละล้านกว่าบาท ด้วยความเชื่อต่อๆกันมาว่า “ไม้ยิ่งด่าง ยิ่งหา ย า ก ยิ่งแพง”
กระแสไม้ด่าง ไม่ได้มีแค่ในไม้ประดับเท่านั้น แต่มีทั้งในพืชไร่ พืชสวน ไม้ยืนต้น ไม่เว้นแม้แต่พืชผักสวนครัว อย่างชา ย า ด่าง หรือคะน้าเม็กซิโก ผักไช ย า …ผักชา ย า …ผักโขมต้น…ต้นผงชูรส…ต้นมะละกอกินใบ
ข้อดีของคะน้าเม็กซิโก, ต้นผงชูรส, ผักไช ย า หรือชา ย า มีงานวิจัยจากกรมอนามัยมาแล้ว ว่ามีคุณค่าทางโภชนากาsมากมาย โดยเฉพาะโปsตีน เหล็ก และแคลเซี ย ม ช่วย ป ก ป้ อ ง หลอด เ ลื อ ด และหัวใจ ต้านอนุมู ลอิส ระ ลดน้ำตาลใน เ ลื อ ด และลดไขมันใน เ ลื อ ด
ที่สำคัญสามารถนำมาใช้ใส่อาหารแทนผงชูรส บ้านเราเลยเรียกต้นชูรส และ โ ร ค แ ม ล ง ไม่ค่อยรบกวน
ดูแลบำ รุ ง รั ก ษ า ก็ง่าย ไม่ชอบน้ำแฉะ จึงไม่ต้องรดน้ำบ่อย เหมือนพืชผักสวนครัวชนิดอื่น
ต้นคะน้าไช ย า ด่าง หรือต้นชูรสใบด่าง ปลูกประดับก้สวย ปลูกไว้ทานก็อร่อย เป็นไม้ชอบแดดปลูกกลางแจ้งได้เลยใบไม่ไหม้ ยิ่งออกแดดใบยิ่งแฉกเยอะ ว่ากันว่าขายได้ต้นละ 690 เลยทีเดียวนะ ราคาแล้วแต่พื้นที่
อีกหนึ่งเกษตรกรที่ปลูกต้นชูรสด่างแล้วประสบความสำเร็จคือ คุณวุฒิชัย แจ่มสว่าง หนึ่งในกูรูทุเรียนเมืองไทย ผู้ใช้เวลาและพื้นที่ว่างปลูกต้นชา ย า จนกลาย พัน ธุ์ ได้ใบด่าง
“ตอนแรกที่เห็นกิ่งชา ย า ใบสีออกเหลืองด่าง เข้าใจว่าอาจเพราะโดนแดดไหม้ เนื่องจากปลูกไว้กลางแจ้ง แต่ก็มาคิดกลับเหตุใดยอดอื่นที่โดนแดดเหมือนกัน ยังเป็นสีเขียวเข้มเหมือนต้นแม่ จึงลองตัดกิ่งมาข ย า ย พัน ธุ์ ต่อ แรกๆได้ต้นที่มีทั้งใบสีเขียวผสมกับใบที่ด่าง ยังไม่ติดด่างทุกกิ่ง ต้องใช้เวลาถึง 3 ปี ถึงได้ชา ย า ด่าง ที่ด่างทุกใบ รวมถึงลำต้นก็ด่างด้วย”
ข้อดีของชา ย า ด่าง…ปกติไม้ด่างที่เกิดจากกาsกลาย พัน ธุ์ โดยทั่วไป มักต้องปลูกในที่แดดรำไร หากปลูกกลางแดดใบจะไหม้ และอาจตายในที่สุด แต่เจ้าชา ย า ด่างปลูกกลางแดดมาตั้งแต่ต้น จึงสามารถปลูกกลางแจ้ง ใบไม่ไหม้ ทนต่อแดดแรงได้ ไม่ต่างจากชา ย า ทั่วไป
และโดยปกติไม้ด่างมักโตค่อนข้างช้า เพราะสังเคราะห์แสงได้น้อยกว่าพืชใบเขียว เนื่องจากส่วนด่างเข้ามาทดแทนสีเขียวของคลอโรฟีลล์ จึงสังเคราะห์แสงได้น้อยลง แต่ชา ย า ด่างกลับโตได้แทบจะใกล้เคียงกับต้นชา ย า ใบเขียวทั่วไป
ข้อแนะนำ ไม่ควรกินสด ให้นำไปทำให้สุกก่อนเพราะบางคนแพ้ ย า งรุนแรงมาก
สนใจสอบถามได้ที่ 0 6 3 4 1 5 6 0 7 7
ที่มา ไทยรัฐ, กรวัฒน์ วีนิล