กำจัดหนอนชอนไชใบมะนาวที่ปลูกไว้ได้ไม่ยากด้วยงบหลัก 10

ปลูกมะนาวข้างบ้านไม่กี่ต้น หรือจะปลูกเป็นสวน…เคยสังเกตใบมะนาวไหม มีลายเส้นยึกยือคดเคี้ยว วกวนไปมา และถ้าสายตายังดีจะสังเกต ในเส้นยึกยือจะมีหนอนตัวจิ๋ว คืบคลานอย่างช้าๆ

นี่แหละ “หนอนชอนใบ” ศัตรูร้ายของพืชตระกูลส้ม มะนาว มะกรูด เป็นได้เหมือนกันทั้งนั้น

ห น อ น ชอนใบ เป็นตัวอ่อนของผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็กชนิดหนึ่ง เมื่อข ย า ยปีกออกเต็มที่วัดได้ 6.0-6.8 มิลลิเมตร ลำตัวสีนวล ปีกคู่หน้าเล็กกว่าปีคู่หลัง เมื่อผสมพันธุ์แล้ว เพศเมียจะวางไข่คราวละ 1 ฟอง มีขนาดเล็กมากเท่าหัวเข็มหมุดสีเหลืองอ่อนไว้ที่ใบอ่อน แล้วฟักออกเป็นตัวภายในเวลา 3 วัน ตัว ห น อ น เจาะเข้าระหว่างผิวใบไปดูดกินน้ำเลี้ยงภายใน ทิ้งซากเป็นรอยคดเคี้ยวไปมา มีระยะเป็นตัว ห น อ น 7-10 วัน จากนั้นจะเข้าดักแด้

วิ ธี ป้ อ ง กั น กำ จั ด

1 ให้เด็ดใบที่มี ห น อ น ชอนใบเข้าทำลายเผาทิ้งไป

2 ถ้าปลูกใกล้บ้านน้อยต้นแนะนำให้ใช้น้ำ ย า ฉุน เตรียม ย า ฉุน หรือ ย า เส้น มีขายตามร้านของชำทั่วไปครึ่งถุงแช่ในน้ำสะอาด 1 ลิตs ทิ้งไว้ 3 ชั่วโมง คั้นแล้วกรองเอาน้ำสีชา ใส่กระบอ ก ฉี ด เติม เ ห ล้ า ขาว 40 ดีกรี อัตsา 1 ช้อนโต๊ะ เขย่าให้เข้ากัน ฉี ด พ่นทั้งทsงพุ่ม ตั้งแต่มะนาวผลิใบตั้งแต่วันแรก แล้ ว ฉี ด ตามอีก 2 ครั้ง ห่างกันทุก 3 วัน เมื่อใบมะนาวมีอายุครบ 9-10 วัน ใบมะนาวจะปลอดภัยจากการเข้าทำลายจาก ห น อ น ชอนใบ

3 กรณีที่ปลูกหลายต้น และห่างจากตัวบ้าน ใ ห้ ฉี ด พ่นด้วยพลูเพนนอกซาซอน (แคสเคส) 5 เปอร์เซ็นต์ อี.ซี. อัตsา 6 ซีซี ต่อน้ำ 1 ปี๊บ หรือ 20 ลิตs ฉี ด พ่นเมื่อมะนาวผลิใบอ่อน และต้องหยุ ด ฉี ด พ่น 14 วัน ก่อนเก็บผลผลิต หรื อ ใ ช้ อิ มิ ด า โ ค ล พ ริ ด ( ค อ น ฟิ ด อ ร์ 100 เอสแอล)

อัตsา 8 ซีซี ต่อน้ำ 1 ปี๊บ ฉี ด พ่นต้นมะนาวใน วิ ธี เดียวกัน อย่างไรก็ตาม การใช้สารเคมีต้องแต่งกายให้รัดกุม พร้อมใช้หน้ากากปิดปากปิดจมูกให้มิดชิด เพื่อความปลอดภัยของผู้ใช้สารเคมีเอง

อย่างไรก็ตาม การป้องกันและกำจัดหนอนชอนใบมะนาว ควรทำอย่างระมัดระวัง เนื่องจากในธรรมชาติยังมีตัวห้ำ หรือตัวที่กินหนอนชอนใบเป็นอาหารอยู่หลายชนิด แมลงช้างปีกใส เป็นผู้ช่วยชาวสวนมะนาวอีกชนิดหนึ่ง แมลงช้างมีรูปร่างคล้ายแมลงปอแต่ตัวเล็กกว่า มีปีกใส ลำตัวสีเขียวบอบบาง แมลงชนิดนี้วางไข่คราวละหลายฟอง มีรูปร่างคล้ายลูกรักบี้ที่มีขนาดเล็กมาก สีเหลืองอมน้ำตาล มีก้านยาวสีขาวระโยงระยางให้เห็น โปรดอย่าทำลายแมลงชนิดนี้ เพราะมีประโยชน์

ที่มา เทคโนโลยีชาวบ้าน