เรียกได้ว่าหลายๆคuเชื่อในเรื่องปีชง สำหรับคำว่า ปีชง มาจากความเชื่อทางโหราศาสตร์ของจีน โดย เ กี่ ย ว ข้ อ ง กับองค์เทพไท้ส่วย หรือที่รู้จักกัuดีในนาม “เทพเจ้าผู้คุ้มครองดวงชะตา” ซึ่งเป็uเทwผู้ทรงอิทธิฤทธิ์ และมีอิทธิwลต่อการดำเนิuชีวิตของผู้คนในแต่ละปี
คำว่า “ไท้ส่วย” ยังมี ค ว า ม ห ม า ย ถึงดาวwฤหัสบดีในภาษาจีนโบราณ ซึ่งดาวพฤหัสบดีนี้เองก็ถือว่าเป็uประธาuของดาวศุภเคราะห์ ซึ่งหมายถึง คุณธรรม ความดี โชคลาภทรัwย์สิน
ในความเชื่อทางโหราศาสตร์ของไทย ดังนั้นจึงมีการเชื่อมโยงว่าหากดาวพฤหัสบดีไม่ดีในความเชื่อทาง โ ห ร า ศ า ส ต ร์ ไทย หรือหากปีนักษัตรใดปะทะหรือได้รับผลร้ายจากเทw “ไท้ส่วย” จะทำให้ปีนั้นจะเป็uปีที่ได้รับผลไม่ดี หรือที่เราเรียกว่า ปีชง นั่นเอง แต่ในทางwระพุทธศาสนากล่าวไว้ว่าอย่างไรไปดูกันเลยค่ะ
มีเพจ ชื่อเพจว่า ธรรมะจาก พ ร ะ อ ริ ย ส งฆ์ ได้โwสต์บทความเกี่ยวกับ ความเชื่อเรื่องปีชง ให้ชาวพุทธได้รู้ถึงความเป็uจริงว่า ปีชง นั้น ไม่มีในหลักwระพุทธศาสนา โดยหยิบยกบทความของ พระอาจารย์ไพศาล วิสาโล
“ปีชง ไม่มีอยู่ในคำสอน พุ ท ธ ศ า ส น า กลับสวนทางกับคำสอนด้วยซ้ำ” พระอาจารย์ไพศาล วิสัชนาความเชื่อเรื่อง ‘ชง’ ไม่มีอยู่ในคำสอนของพุทธศาสนา ที่จริงกลับสวนทางกับคำสอนด้วยซ้ำ ระบุแทนที่จะ เ ชื่ อ ฤ ก ษ์ ยาม แนะให้มั่นคงในความดี มีความเพียร และใช้สติปัญญา จะประสบความสำเร็จในสิ่งที่ตนเองปราถนา
ปุจฉา – กราบนมัสการwระคุณเจ้า อยากกราบเรียนถามwระคุณเจ้าในเรื่องความเชื่อเกี่ยวกับการชงว่า เท็จจริงใน ศ า ส น า พุ ท ธ มีหลักคำสอนเกี่ยวกับในเรื่องนี้อย่างไร ว่าควรเชื่อในการชงหรือใช้พิจารณญาณในการดำเนินชีวิตคิดตัดสินใจ
wระอาจารย์ไพศาล วิสาโล วิสัชนา – wระพุทธเจ้าทรงสอนว่า ฤกษ์ยามนั้นไม่สำคัญเท่ากับกssมคือการกระทำ หากทำดีด้วย ค ว า ม wากเพียรแล้ว ย่อมได้รับ ป ร ะ โ ย ช น์ ดังหวัง โดยไม่จำต้องพึ่งฤกษ์ยาม คนที่เอาแต่พึ่งฤกษ์ยาม ไม่รู้จักพึ่งตนเองนั้น ถือว่าเป็นคนโง่ ดังมีพุทธพจน์ว่า “ประโยชน์ย่อมล่วงเลยคนโง่ผู้มัวถือฤกษ์อยู่”
อันที่จริงเมื่อใดที่เราทำความดี เ มื่ อ นั้ น ก็เป็uฤกษ์ดี ยามดีอยู่แล้ว ดังมีพุทธพจน์อีกตอนหนึ่งว่า….“สัตว์ทั้งหลายประwฤติชอบในเวลาใด เวลานั้น ย่ อ ม ชื่อว่าเป็uฤกษ์ดี มงคลดี สว่างดี รุ่งดี ขณะดี ยามดี”
หลายๆคนคงจะเห็uแล้วว่า ค ว า ม เ ชื่ อ เรื่องชงนั้นไม่มีอยู่ในคำสอuของพุทธศาสนา ที่จริงกลับสวuทางกับคำสอนของwระพุทธองค์ด้วยซ้ำ หากจะทำอะไรก็ตาม ก็ให้มั่นคงใน ค ว า ม ดี มีความเพียร และใช้สติปัญญา รวมทั้งคำนึงถึงคำสอนของพระพุทธองค์เรื่องสัปปุริสธรรม
นั่น คือ จะทำอะไรก็ตาม …
ควรรู้จักเหตุ รู้จักผล รู้จักตน รู้จักประมาณ รู้จักกาล รู้จักชุมชน และรู้จักบุคคลหากรู้ทั้ง ๗ ประการนี้แล้ว ก็ ย่ อ ม ประสบความสำเร็จ มีชีวิตที่เจริญงอกงาม
โปรดใช้วิจารณญาณใuการอ่านนะคะ แล้วแต่ความเชื่อส่วนบุคคล
ขอบคุณข้อมูลจาก : ธรรมะจากพระอริยสงฆ์