อิ ติ ปิ โส สวดตอนเช้าให้ได้ทุกวัน ชีวิตดี มีเงินมีทองใช้ไม่ขาดมือ

ที่มาของอิติปิโสฯ หรือบทสวดสรรเสริญพระ พุ ท ธ คุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ

บทสวดนี้ มีที่มาจากบท “ธชัคคสูตร”

ธชัคคะ แปลว่า ยอดธง

ธชัคคสูตร คือ พระสูตรที่แสดงถึงยอดธง

ธชัคคสูตรเป็นสูตรใหญ่ นิยมสวดทั้งสูตรเฉพาะภายในวัด เช่น สวดประจำพรรษาในwระอุโบสถเพราะใช้เวลามาก ถ้าจะสวดทำบุญตามบ้าน หรือแม้ในพระบรมมหาราชวัง ก็ไม่สวดเต็ม ตัดสวดเฉพาะบทอิติปิโสฯ หรือ บทสรรเสริญพระ พุ ท ธ คุณ พระธรรมคุณ และพระสังฆคุณ ซึ่งเป็น หัวใจของพระสูตรนี้

ถือว่า เป็นบท ม ง ค ล เพราะเป็นการถอดแบบจาก พุ ท ธ พจน์โดยตรง เป็นความจริงอันเป็นสัจจะ

เป็นดั่งยอดธงชัย สำหรับมวลหมู่เทวดา ในสงครามเทวดากับอสูร

ในwระไตรปิฏก wระ พุ ท ธ องค์ทรงเล่าถึง พุ ท ธ านุภาพ ธรรมานุภาพ และสังฆานุภาพ

เป็นดั่งธงชัย ที่เหนือกว่าธงชัยขององค์จอมเทพทั้งหลาย เพราะบริสุทธิ์ ปราศจากโลภะ โทสะ โมหะ จึงขจัดความหวาดกลัว ความขยาด ความสะดุ้ง ขนพองสยองเกล้าได้

ขอให้ทดลองดูเถิด. จะเห็นผลทันตาทันใจ หาก สวดอิติปิโสฯด้วยความเลื่อมใสสักสองสามรอบกระทั่งเกิดความอบอุ่นและสว่างใน ภายในแล้ว ก็ขอให้น้อมนึกว่าความ อ บ อุ่ น สว่างใจนี้จงได้แก่ผู้ทำร้ายเรา ผู้สาปแช่งเรา หรือผู้กระทำคุณไสยใส่เรา ตรงนี้สำคัญ เป็นขั้นตอนของการแผ่เมตตาโดยตรง เสนียดหรือเงามืดทั้งหลายจะหายไปอย่างแน่นอนชนิดฉับพลันทันที เห็นกันจะจะ ไม่ต้องเดินทางไปรดน้ำมนต์หรือหาหมอไสยขาวใดๆทั้งสิ้น เพราะการมีกระแสพระรัตนตรัยอยู่ติดตัวนั้น ประเ สริฐและให้ผลคุ้มครองเหนือกว่าการทำพิธีปัดเป่าใดๆในโลกอยู่แล้ว

๑ พุ ท ธ คุณ

อิติปิโส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะ สัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถาเทวมนุสสานัง พุทโธภะคะวาติ

แม้เพราะอย่างนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้านั้น เป็นพระอรหันต์ผู้บริสุทธิ์เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอนผู้อื่น ควรได้รับความเคารพบูชา เป็นผู้ตรัสรู้ชอบเอง เป็นผู้ถึงพร้อมด้วยวิชาและความประพฤติ เป็นผู้เ ส ด็ จ ไปดีแล้ว เป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ฝึกได้ ไม่มีใครยิ่งไปกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้ตื่นและเบิกบานแล้ว และเป็นผู้จำแนกแจกธรรม

๒ ธรรมคุณ

สวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตังเวทิตัพโพ วิญญูหิติ

wระธรรมอันพระผู้มีwระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว อันผู้ปฏิบัติจะพึงเห็นชัดด้วยตนเอง ไม่ขึ้นอยู่กับกาล ควรเรียกให้มาดู ควรน้อมเข้ามาในตน อันวิญญูชนพึงรู้เฉพาะตน

๓ สังฆคุณ

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะป ะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทังจัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโ ย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ

wระสงฆ์สาวกของwระผู้มีพระภาคเป็นผู้ปฏิบัติดี เป็นผู้ปฏิบัติตรง เป็นผู้ปฏิบัติถูกทาง เป็นผู้ปฏิบัติสมควร เป็นผู้ควรแก่การคำนับ เป็นผู้ควรแก่การต้อนรับ เป็นผู้ควรแก่ของทำบุญ เป็นผู้ควรแก่การทำอั ญ ช ลี กราบไหว้ เป็นนาบุญอันยอดเยี่ยมของโลก