ไม่ว่าจะเทศกาลไหนๆ หลายคนคงเตรียมเดินทาง บ้างก็กลับบ้านเกิด บ้างก็อาศัยช่วงหยุดยาวไปเที่ยวพักผ่อนกับครอบครัว เพื่อนฝูง หรือคนรัก วันนี้เราจึงอยากแนะนำ 6 วิธีขับขี่ ป ล อ ด ภั ย
1 อย่าฝืนขีดจำกัดในการขับรถของตนเอง
2 ต่อให้ระวังแค่ไหนการขับเร็วก็ไม่อาจเลี่ยง “วิสัยทัศน์อุโมงค์” และเสี่ยงอุบัติเหตุ
3 เหนื่อยต้องพัก นอนให้พออย่างน้อย 8 ชม หากง่วงอย่าฝืนขับ ดับรถแล้วนอนพักในที่ ป ล อ ด ภั ย
4 ดื่มน้ำผลไม้ที่มีวิตามินซีแทนกาแฟและเครื่องดื่มชูกำลัง
5 เลี่ยงขับใกล้รถบรรทุกที่มีจุดบอดรอบคัน โดยเฉพาะด้านซ้ายที่อันตรายที่สุด
6 อย่าใช้ไฟฉุกเฉินผิดวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะขณะฝนตกหนักหรือหมอกจัด
นอกจากนี้ก่อนการเดินทางก็ต้องสำรวจยานพาหนะของเราให้ดี ให้มั่นใจได้ว้าจะไาเราถึงที่หมายได้อย่าง ป ล อ ด ภั ย การตรวจเช็คให้ดีก่อนจะเพิ่มความมั่นใจในการใช้รถมากขึ้น เพราะเราอาจจะเดินทางไปในสถานที่ที่เราไปเป็นครั้งแรก สิ่งที่ควรต้องเช็ค ได้แก่
1 แบตเตอรี่และระบบสายไฟในรถ
หัวใจหลักของกาsสตาร์ทเครื่องยนต์คือแบตเตอรี่ ตsวจดูสภาพของแบตเตอรี่ ว่าอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์หรือไม่ เพื่อความปลอ ดภั ยในกาsขั บขี่ และกาsเดินทางทุกครั้ง
2 ระบบไฟ
ควรจะเ ช็ คเสมอว่าไฟทุกดวงยังใช้งานได้ต ามปกติ ทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งไฟหน้า ไฟท้าย ไฟตัดหมอก ไฟเลี้ยว และไฟฉุกเฉิน จะต้องใช้งานได้ครบทุกจุด แสงสว่างจะต้องคมชัด ไม่มัว ยิ่งเดินทางในช่วงกลางคืนระบบไฟส่องสว่างถือว่าจำเป็นมากในกาsเดินทาง
3 แตรรถ
แตรรถที่หล า ยคนซื้ อรถมา อาจจะใช้แบบนับครั้งได้เลย และมักจะมองข้ามกัน ไม่ค่อยเ ช็ คในส่วนนี้ แต่หากถึงเวลาที่ต้องใช้จริงๆมันสำคัญมากนะในกาsขั บขี่ เราควรจะเ ช็ คว่าแตรยังมีเ สี ยงดัง ใช้งานได้ต ามปกติดีทุกครั้งก่อนออ กเดินทาง
4 ที่ปัดน้ำฝน
เช็คที่ปัดน้ำฝนด้วยกาsสัมผัส สังเกต ฟังเสียง ดูระยะห่างของที่ปัดน้ำฝนและกระจก โดยทั่วไปยางที่ปัดน้ำฝนใช้งานได้ 6-12 เดือน
5 อะไหล่สำรอง
ชื่อก็บอ กอยู่ว่าเป็นอะไหล่สำรอง ก็ควรจะเตรียมความwร้อมไว้สม่ำเสมอ เมื่อเกิดเหตุ ฉุ ก เ ฉิ น ขึ้น มา จะได้ใช้กาsได้ทันที ไม่ว่าจะเป็นย างอะไหล่รถ แม่แรง และตัวขันต่างๆ มีเผื่อได้ใช้ ดีกว่าจะใช้แล้วไม่มีนะ
6 น้ำมันเบรก
เราควรตsวจเ ช็ คน้ำมันเบรกไม่ให้ต่ำกว่าที่กำหนด เพราะน้ำมันเบรกมีหน้าที่ในกาsช่วยให้เบรกทำงานได้ดี มีความหล่อลื่นดี เมื่อเราใช้งานเบรกไปนานๆ ทำให้น้ำมันเบรกไม่พอและเบรกจะสึกหรอได้ หรืออาจถึงขั้น เ บ ร ก แ ต ก เลยล่ะ ดังนั้นจึงไม่ควรละเลยกาsเ ช็ คน้ำมันเบรกกันนะ
7 ระบบปรับอากาศ
เครื่องปรับอากาศเป็นสิ่งที่ข า ดไม่ได้เลย โดยเฉพาะสภาพอากาศร้อนๆแบบบ้านเรา หากวันไหนขั บรถไปเกิดระบบปรับอากาศมีปัญหา แอร์ไม่เย็น มีกลิ่นอับ คงนั่งรถไม่มีความสุขแน่ๆ และควรเปลี่ยนกรองแอร์ทุก ๆ 1 หมื่นกิโลเมตร เพื่อให้อากาศห า ยใจในรถเย็นสดชื่น
8 ระบบเบรก
ให้เ ช็ คระบบเบรก โดยกาsขั บบนถนนโล่งๆ ด้วยความเร็ว 30 กิโลเมตร/ชั่ วโมง แล้วให้ เ ห ยี บ บ เบรกแบบเต็มแรง หากรู้สึกว่ายังมีแรงสะท้านที่เบรกแบบถี่ๆ แสดงว่ายังใช้งานได้ต ามปกติ แต่ถ้าหากได้ยินเ สี ยงดังเอี๊ยด แปลว่า ระบบกำลังมีปัญหา ให้รีบเข้าศูนย์เพื่อเ ช็ คให้ละเอียดโดยด่วน
โดยทั่วไปต้องเปลี่ยนทุกๆ 25,000 – 50,000 กม. (ตามพฤติกรรมกาsใช้รถ) ความชื้นสูงส่งผลต่อคุณภาพน้ำมันเบรค จึงควรตsวจน้ำมันเบรคหลังหมดฝน
9 ย างรถยนต์
อุบัติเหตุส่วนหนึ่งบนท้องถนน เกิดจากยางระเบิดขณะขับขี่ ดังนั้นยางที่ดีต้องอยู่ในสภาพที่wร้อมใช้งาน ไม่รั่ว ไม่ซึม ไม่แตกลายงา มีดอกยางเพียงพอ เติมลมยางตามที่คู่มือประจำรถกำหนด ส่วนล้อก็ควรอยู่ในสภาพที่สมบูรณ์ ไม่คด ไม่เบี้ยว และที่สำคัญ อย่าลืมเช็คน็อตล้อด้วยนะคะ ว่าขันแน่นหรือเปล่า
10 น้ำมันเครื่อง
ระดับน้ำมันเครื่องจะต้องอยู่ในระดับที่เหมาะสม ซึ่งเราสามารถตsวจเช็คได้จากก้านวัดน้ำมันเครื่อง และขณะเดินทางควรมีน้ำมันเครื่องสำรองติดรถไว้อย่างน้อย 1 ลิตร เผื่อได้ใช้ในยามฉุกเฉิน และควรเปลี่ยนถ่ายน้ำมันเครื่องทุกๆ 10,000 กิโล เพื่อให้เครื่องใช้งานได้ดีมีประสิทธิภาพ ไหลลื่นปกติดี
11 สายเข็มขัด นิ ร ภั ย
เราควรเ ช็ คเข็มขัด นิ ร ภั ย ทุกครั้งเสมอ ว่ายังแน่น ล็อ กได้ โดยกาsดึงเร็วๆหล า ยๆครั้ง และสามารถช่วยเซฟได้ดีอยู่ ในกรณีที่เกิดเหตุ ฉุ ก เ ฉิ น เพื่อความปลอ ดภั ยในกาsขั บขี่
12 ระบบน้ำ
ระบบน้ำของรถก็ควรจะเ ช็ คให้เรียบร้อยด้วยเช่นกัน ว่ายังอยู่ในระดับที่กำหนดหรือไม่ รวมถึงในหม้อน้ำว่ามีเศษอะไรตกลงไปหรือเปล่า หากมีก็เอาออ กให้เรียบร้อย
ที่สำคัญควรเช็คเอกสารจำเป็น ได้แก่ ใบอนุญาตขับขี่ สำเนาทะเบียนรถ กรมธรรม์ประกันภัยตัวจริงหรือสำเนา และป้ายภาษีรถยนต์ บันทึกเบอร์โทรฉุกเฉินไว้ในมือถือ และอย่าลืมติดของใช้อื่นๆ เช่น แว่นตากันแดด ที่ชาร์จมือถือสำหรับรถยนต์ ไฟฉาย ไขควง ไว้ในรถด้วย
“ขับรถไม่ประมาทนะคะ เพราะคนที่บ้านกำลังรอคุณอยู่”
ที่มา bitcoretech, autospinn, krungsriautobroker
เรียบเรียงโดย คนบ้านนอก