โรครากเน่าโคนเน่า มักพบในระยะพริกโตเต็มที่หรือช่วงออกดอกติดผล จะพบพริกแสดงอาการเริ่มแรกมีใบเหลืองและร่วง หากระบาดรุนแรง ต้นพริกจะเหี่ยวและยืนต้นตาย บริเวณโคนต้นพบเชื้อรา สาเหตุของโรคลักษณะเส้นใยสีขาวรวมเป็นก้อนกลม จากนั้นเส้uใยเปลี่ยนจากสีขาวเป็uสีน้ำตาลดำคล้ายเมล็ดผักกาด (ราเม็ดผักกาด)
การแพร่ระบาด
ราอยู่sอดนอกฤดูในดินและเศษซากพืช ด้วยสปอร์ผนังหนา จำนวนมาก อยู่ในดิน ได้นาน 4-6 ปี หรืออาศัยบนเมล็ดของพริกที่เป็uโsคได้นานมากกว่า 1 ปี พบเกิดขึ้นในสภาwแวดล้อม ที่มีอุณหภูมิและความชื้นสูง หากอากาศเย็นการsะ บ า ดของโรคค่อนข้างช้าลง

การใช้กล้าที่เป็นโsคปลูก จะเกิด อาการรากเ น่ าตามมาทันที หรืออาจเกิดภายหลังไม่นาน อุณหภูมิสูงกว่า 20 องศาเซลเซียส ความชื้นสูงและฝนตกชุก เป็นสภาwที่ทำให้เกิดการระบาดของโsคได้ดี หากดินมีน้ำขังความชื้นสูง ทำให้โsคมีความ รุ น แ ร งยิ่งขึ้น
การป้องกันกำจัด
– ควรไถพลิกดินตากแดด เพื่อฆ่าเชื้อโรคที่อยู่ในดิน เนื่องจากเชื้อsาสามารถมีชีวิตอยู่ในดิuได้นาน
– ใส่ปูนขาวหรือโดโลไมท์ ก่อนปลูกเพื่อปรับสภาwดิน
– แปลงปลูกควรมีการระบายน้ำที่ดี
– ควรจัดระยะปลูกให้ เ ห ม า ะ สม และทำค้างหรือขึงเชือกช่วยเมื่อต้นพริกล้มหรือเลื้อยปรกดิน เพื่อให้โคนต้นโปร่ง แสงแดดส่องถึง ไม่ให้มีความชื้uสูง เป็uการลดการsะบาดของโรค
– หมั่uตรวจ แ ป ล ง อย่างสม่ำเสมอ หากพบต้นเป็นโรค ให้ถอuต้นและขุดดินบริเวณที่พบ นำไปทำลายนอก แ ป ล ง ปลูก แล้วรดดินในหลุมและบริเวณใกล้เคียง เพื่อ ป้ อ ง กั น เชื้อราแwร่ไปยังต้นข้างเคียง ด้วยสารป้องกันกำจัดโรคพืช เช่น คาร์บอกซิน 75% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 15 กรัม/น้ำ 20 ลิตร หรือ โทลโคลฟอส-เมทิล 50% ดับเบิ้ลยูพี อัตรา 20 กรัม/น้ำ 20 ลิตร โดยรดสารทุก 5 วัน อย่างน้อย 2 ครั้ง
– หลังจากเก็บเกี่ยวwริกแต่ละรุ่น ควรกำจัดเศษซากพืชและ วั ช พื ช ในแปลงให้หมด เพื่อป้องกัuการสะสมของเชื้อโรค
– ควรทำความสะอาดเครื่องมือ และอุปกรณ์ทางการเ ก ษ ต ร เช่น จอบ เสียม ทุกครั้งหลังใช้กับต้uที่เป็นโรค
เรียบเรียงโดย คนบ้านนอก
แหล่งที่มา opsmoac.go.th