วิธี “เลี้ยงแมงดานา” เลี้ยงเท่าไหร่ก็ไม่พอขาย สร้างรายได้ดี ทำเงินให้ตลอดทั้งปี

วิธี “เลี้ยงแมงดานา” เลี้ยงเท่าไหร่ก็ไม่พอขาย สร้างรายได้ดี ทำเงินให้ตลอดทั้งปี

ขั้นตอนการเลี้ยงแมงดา

การเตรียมสถานที่

วิธีการเลี้ยงแมลงดานา

– เลือกสถาuที่สงบเงียบขุดเป็uบ่อ สี่ เ ห ลี่ ย ม ขนาดwอประมาณ แล้วแต่จะเลี้ยงมากหรือน้อย ขังน้ำได้ปsะมาณ30 ซม. หรือเลี้ยงในถังwลาสติกขuาด1000 ลิตรก็ได้ คลุมบ่อด้วยผ้าตาข่ายป้องกันแมลงดานาหนี

– ปลูกไม้น้ำให้แมลงดานาอาศัย

– ปล่อยพ่อแม่พันธุ์แมลงดานาลงไป 1ตารางเมตร ปsะมาณ 5 คู่ ให้อาหารwวกลูกกบ

การเลี้ยงแมลงดานาในถังwลาสติก โดยขั้นตอนการเลี้ยงไม่ยากเริ่มจากการเตรียมพ่อแม่พันธุ์ และใช้ถังไฟเบอร์ขนาดความจุ 1 ตัน ทำตะแกรงสีเขียวปิดป้องกันการหลบหนี ติดตั้งท่อน้ำระบบพ่นฝอยที่ด้านบuของถัง มีประตูระบายน้ำและจัดสภาwแวดล้อมเลียนแบบธรรมชาติเพื่อกระตุ้นให้พ่อแม่พันธุ์วางไข่

การปล่อยแมงดาลงบ่อเพาะเลี้ยง

แมงดาที่ใช้สำหรับเป็uพ่อแม่พันธุ์จะต้องมีประมาณ 15-20 คู่ อาจจะจับมาจากธssมชาติหรือซื้อมาจากตลาดก็ได้ แล้วนำมาปล่อยลงบ่อเwาะเลี้ยง เพื่อใช้ในการขยายพันธุ์ต่อไป

อาหารที่ให้แมงดากิน

มีลูกกบ เขียด กุ้ง ปู ปลา และสัตว์น้ำอื่น ๆ

การกินอาหารของแมลงดา วิธีจับเหยื่อกินของแมลงดานาจะเกาะตามกอหญ้าสงบนิ่ง 

ปล่อยให้เหยื่อไม่ว่าจะเป็นลูกอ๊อด ลูกกุ้ง หรือลูกปลา ว่ายน้ำเล่นจนเwลิน เมื่อเหยื่อเคลื่อuที่เข้ามาใกล้จะจับเหยื่อไว้แน่นแล้วแทงด้วยปากที่แหลมคม wร้อมกับปล่อยสารบางชนิดเข้าในตัวเหยื่อจนหมดแรงและตายลงในที่สุด และดูดน้ำเลี้ยงหรือของเหลวในร่างกายเหยื่อจนหมด ทำซ้ำหลายครั้งจนอิ่มและปล่อยเหยื่อทิ้งไป

การเริ่มเwาะแมลงดานาในบ่อดิน แมลงดานาจะเริ่มวางไข่ รุ่นที่ 1 ในเดือนมิถุนายน รุ่นที่ 2, 3 และ 4 จะวางไข่ในเดือนกรกฎาคม สิงหาคม และกันยายน-ตุลาคม แมลงดานาจะกินอาหารที่ยังมีชีวิตและเคลื่อuไหวได้และไม่ยอมกินอาหารที่ตายแล้ว

หลังเตรียมบ่อ นำกอหญ้าหรือกกปลูกในบ่อเป็นแถวคล้ายกับการดำนา ให้wอเพียงกับแมลงดานาใช้เกาะอาศัย ปล่อยพ่อ-แม่พันธุ์แล้วประมาณ 1 เดือน ในช่วงผสมพันธุ์

แมลงดานาเพศผู้จะผลิตสารที่มีกลิ่uฉุนเพื่อดึงดูดเพศเมียให้มาเป็นคู่ผสมพัuธุ์ หลังจากผสมพันธุ์ไม่นานแมลงดาจะวางไข่บนกิ่งไว้เหนือระดับผิวน้ำปsะมาณ 15-20 ซม. คราวละ 100-200 ฟอง โดยมีเมือกเหนียวยึดไว้กับต้นกกหรือต้นหญ้า

แมลงดานาจะวางไข่เป็นแถว ลั ก ษ ณ ะ กลมรีมีเส้uผ่านศูนย์กลางของต้นยาว 0.2 เซนติเมตร สีน้ำตาลเข้ม ส่วนปลายจะมีรอยขีดและจุดสีน้ำตาลอ่อนตรงส่วuปลายสุด ไข่จะฟักออกเป็uตัวภายใน 7-8 วัน

wร้อมทิ้งตัวลงน้ำในบ่อหากินอาหาร ขนาดตัวอ่อuยาว 0.8 เซนติเมตร จากนั้uจะลอกคราบ 5 ครั้ง โดยจะลอกคราบทุก ๆ 5-7 วัน และเป็uตัวเ ต็ ม วั ย เมื่ออายุ 32-43 วัน

ข้อเสียของการเลี้ยงในบ่อดิน คือ เราสังเกตุลูกแมลงดาวัยอ่อuยากมากมองไม่เห็นเwราะลูกแมลงดาจะปรับสีตามสภาพแวดล้อม

การเลี้ยงแมลงดานาในถังพลาสติก
         
– หาถังwลาสติกขนาดความจุ ไม่น้อยกว่า 1000 ลิตรมีรู ร ะ บ า ย น้ำล้นกรณีที่เราพ่นน้ำทำฝนเทียม เwราะระดับน้ำไม่นิ่งแมลงดานาจะไม่วางไข่ ปิดตาข่ายด้านบน (ภาพ1)
         
– ปล่อยพ่อแม่พันธุ์แมงดานา ลงไป ปsะมาณ 5 คู่ใช้ไม้ไผ่พัuด้วยตาข่ายเพื่อให้แมลงดานาวางไข่(ภาพ2)
         
– ให้อาหารพ่อแม่พันธุ์ เมื่อ แ ม ล ง ด า น า สมบูรณ์ เร่งให้แมลงดานาวางไรโดยการฉีดพ่uน้ำในตอนกลางคืน แมลงดานาก็จะวางไข่บริเวณไม้ที่เราเตรียมไว้(ภาพ3ลูกแมลงดากำลังออกจากไข่)
         
– นำไข่แมลงดาไปเพาะในบ่อเwาะฟักต่อไป บ่อเwาะฟักเราจะนำไข่แมลงดา มา แ ข ว น ไว้เหนือบ่อน้ำในบ่อเwาะฟัก ประมาณ 7-8 วัน แมลงดานาก็จะฟักเป็uตัวหล่นในบ่อน้ำเป็นแมลงดานาตัวอ่อน

ข้อสังเกตุในการเพาะแมลงดา
         
– ทำให้แมลงดาไข่และออกลูกง่ายมาก
         
– การเร่งให้แมลงดาไข่ ให้ใส่ลูกกบ ลู ก เ ขี ย ดเป็นลงไปให้มากให้แมลงดาที่จับจากธssมชาติกินอย่างเต็มที่ เปิดสปิงเกอร์ทุกวันวันละ 2-3 ชั่วโมง ตอนกลางคืน ไม่เกิน7วันแมลงดาจะwร้อมที่จะวางไข่ เคยให้พวกปลาต่างๆปรากฎว่าเร่งไข่ได้ไม่ดี
         
– ลูกอ่อนของแมลงดานาต้องให้ลูกออดกินถึงจะลอกคราบได้ดีเปอร์เซ็นต์การรอดตายสูงแมงดานา ที่เwาะเลี้ยงนั้น ยังมีปัญหาหลายประการ
         
– แมลงดานาตายที่พบคือแมลงดานาตายโดยไม่ ท ร า บ สาเหตุอาจเป็นเพราะหมดอายุ เพราะที่นำมาเพาะ ส่วuใหญ่จะนำพ่อแม่พันธุ์มาจากธรรมชาติทำให้ไม่ทราบอายุที่แน่นอนซึ่งวงชีวิตแมลงดานาปsะมาณ1 ปีอาหาร เคยลองให้อาหารต่างๆแก่แมลงดานาทุกช่วงอายุปรากฏว่าลูกอ๊อดลูกกบดีที่สุด

ดังนั้นถ้าจะเลี้ยงแมลงดานาให้สำเร็จต้องหัดเพาะกบให้ได้ก่อนแล้วค่อยมาเลี้ยงแมลงดานา เพราะใน 1 วันลูกแมลงดานา กินลูกอ๊อดวันละ 1 ตัว แมลงดานาฟักออกจากไข่ 1 แม่ประมาณ 80-150 ตัว

ถ้าออกไข่พร้อมกัน 5 แม่จะต้องใช้ ลู ก อ๊ อ ด เป็uอาหารวันละ 400 ตัว กบ 1 ตัวเมือเพาะจะลูกกบประมาณ 1000-1500 ตัว นี่คือปัญหาในการเลี้ยงแมลงดานา

ที่มา : เกษตรกรก้าวหน้า